วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ
สะพานข้ามแม่น้ำแคว (ภาษาอังกฤษ : The Bridge of the River Kwai) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายชี้บอกทางไว้ชัดเจน

ประวัติ สะพานข้ามแม่น้ำแคว

สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหารทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง

สะพานข้ามแม่น้ำแควเดิมได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และรัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ สะพานข้ามแม่น้ำแควห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตรปัจจุบัน ชาวโลกต่างให้ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ